วันจันทร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

ลักษณะของหลักสูตรที่ดี

หลักสูตรที่ดี



ในการประชุมวิชาการ การประกันคุณภาพการศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ประจําป พ.ศ.2558 ระหวางวันที่ 14-16 ตุลาคม 2558 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค มีการเสวนา เรื่อง “หลักสูตรสรางชีวิต ศิษยคุณภาพ” ซึ่งมีขึ้นในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2558 เวลา 13.00 - 14.30 น. วิทยากรประกอบดวยรองศาสตราจารย ดร.วรากรณ สามโกเศศ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบััณฑิต ดร.สิริกร มณีรินทร อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ และคุณประกอบ รัตนพันธ อดีตประธานคณะกรรมการการศึกษา สภาผูแทน ราษฎร โดยมี ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม เปนผูดําเนินรายการ QA NEWS จึงขอนําสรุปประเด็นการเสวนาที่ สมศ. ไดสรุปไวมานําเสนอ

ดร.พรชัย มงคลวนิช กลาววา หลักสูตรมีความสําคัญตอการจัดการเรียนการสอนมาก หลักสูตรไมไดเปนแคตัวหนังสือเพียงอยางเดียว แตมีองคประกอบสําคัญหลายอยาง ประกอบดวย
         1) ดาน Learning Skills ผูเรียนจะตองรูจักทักษะการหาความรู ซึ่งปจจุบันเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ดังนั้น การศึกษา ที่ดีตองสามารถตอบสนองการทํางานในอนาคตได
2) ดาน Life Skill หรือการมีทักษะชีวิต ผูเรียนตองสามารถควบคุมอารมณ ตนเองรวมถึงอารมณของผูอื่นได เพราะคนที่มีทักษะชีวิตเปนคนที่ ทันสมัย สามารถปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ภายนอกได และ
3) หลักสูตรที่ดีตองเนนการปฏิบัติจริงได ที่สําคัญ ตองงาย ชัดเจน และไมซับซอน ปญหาของหลักสูตร คือ การขาดระบบการจัดการและขอมูลยอนกลับ ซึ่งตองมีกระบวนการพัฒนา หลักสูตรที่ครบวงจรตามระบบหลักสูตรและการเรียนการสอน แบบ Top Down Approach และ Bottom Up Approach โดยมีผูรับผิดชอบดานการวิจัยและพัฒนา และตองมีวิธีการกํากับ ดูแลหลักสูตรเพื่อพัฒนาใหการเรียนการสอนมีคุณภาพมากขึ้น ทั้งนี้ ดร.พรชัย ยังไดกลางวา หลักสูตรควรมีความสอดคลองกับ ธรรมชาติของผูเรียน ซึ่งบางครั้งสอนนอยอาจจะรูมาก สอนมาก อาจจะรูนอย ดังนั้น การเรียนที่ดีตองมีครูที่คอยชี้แนะ หาแนวทาง บอกทิศทาง รวมกันวิเคราะหและสังเคราะหกับผูเรียน รองศาสตราจารย ดร.วรากรณ สามโกเศศ กลาววา ปญหา ของหลักสูตรการศึกษาไทย คือ ไมวาหลักสูตรจะปรับปรุงเปน เชนไร ครูจํานวนมากก็ยังสอนตามที่ตัวเองจะสอน หลักสูตรที่ดี คือ เปนหลักสูตรที่คํานึงถึงการเรียนมากกวาการสอน การสอนที่ มีการบรรยายความรูตางๆ ใหผูเรียนฟงเปนลักษณะการสอนใน ศตวรรษที่ 19 แตปจจุบันความรูไมไดอยูที่ครู แตอยูในเทคโนโลยีและแหลงเรียนรูตางๆ
 ดร.วรากรณกลาวตอไปวา หลักสูตรที่ดีควร มี 2 ลักษณะ ดังตอไปนี้
1. ตองตองคํานึงถึงการเรียนรู ไมใชการสอน (Teach Less and Learn More)
2. ตองทันสมัย โดยมีทักษะชีวิต ซึ่งไมแปรผันตามเทคโนโลยีตางๆ ที่มีความกาวหนาไปอยางรวดเร็ว การมีทักษะชีวิตควรมีลักษณะดังนี้
1) คิดเปน (Critical Thinking) หากเปนคนที่คิดเปนก็จะ ทําใหตัวเองทันสมัยไดตลอดเวลา การคิดเปนจะตองมีลักษณะ 4 ประการ คือ
(1) เขาใจสถานการณที่เปนอยู
(2) สามารถพยากรณ สถานการณที่เปนอยูได
(3) สามารถแกปญหาที่เกิดขึ้นได และ
         (4) เรียนรูบทเรียนจากสิ่งที่เกิดขึ้นได ซึ่งลวนเปนเรื่องสําคัญ อยางยิ่งที่ตองมีในหลักสูตรการเรียนรู
2) มีความสามารถในการพูด ศึกษา และการโนมนาวผูอื่น
3) เรียนรูที่จะควบคุมกํากับอารมณของตนเอง คือ สามารถ เปลี่ยนอารมณจากลบเปนบวกได และเปลี่ยนจากเศราเปนสุขได
4) สามารถจัดการกับอารมณของผูอื่นได คือ สามารถจัดการ อารมณรอนๆ ของผูอื่นใหเย็นลงได และสามารถปลุกเราให คนอื่นเชื่อและปฏิบัติตามได
5) หลักสูตรที่อํานวยใหเกิดคุณธรรม จริยธรรม คือ ทําให คนทําในสิ่งที่ควรจะทําและถูกตอง ไมไดทําเพื่อคิดวาจะไดรางวัล หรือไมทําแลวจะถูกลงโทษ ทําในสิ่งที่ควรทํา ถึงแมวาจะไมมีใครเห็นก็ตาม ดร.วรากรณยังกลาววา ไมวาหลักสูตรจะเปนอยางไร จะตองนําไปปฏิบัติได หลักสูตรที่สวยหรู หลักสูตรที่อยูในอากาศ หลักสูตรที่นําไปปฏิบัติไมได หลักสูตรที่ตองใชคนที่มีความรูเฉพาะอยางลวนนําไปสูความลมเหลว หลักสูตรที่ดีที่สุดตองเปนหลักสูตรที่เขาใจไดงายที่สุด สามารถทําใหเกิดขึ้นจริงได จึงจะทําใหการศึกษามีคุณภาพ
ดร.สิริกร มณีรินทร กลาววา ปญหาของหลักสูตรการศึกษาของไทย คือ ขาดระบบการจัดการเรื่องหลักสูตร และขาดขอมูลยอนกลับ สิ่งสําคัญควรมองจุดเริ่มตนของหลักสูตร ดูคุณลักษณะที่พึงประสงคของคนไทยวาเปนอยางไร สมรรถนะสําคัญของผูเรียน คือ เปนผูสรางงาน ทํางานเปนเครือขาย เปนผูพัฒนาตนเอง ใหมีความสุข พอเพียงและแบงปน เปนผูใฝรูและเรียนรูตลอดชีวิต และเปนสมาชิกที่ดีของสังคมไทยและสังคมโลก หลักสูตรที่ดีจะตองมีการทํางานรวมกันใหครบวงจรตามระบบ หลักสูตรและการเรียนการสอน แบบ Top Down Approach และ Bottom Up Approach ดังนี้ หลักสูตรที่คาดหวัง (Intended Curriculum) ไปสูระดับนําไปใช (Implemented Curriculum) ตองมีการเตรียมคําอธิบายหลักสูตร คูมือครู หนังสือเรียน สื่อ วัสดุ อุปกรณการเรียนการสอน ฯลฯ และไปสูระดับที่นักเรียนไดเรียนรูจริง (Attained Curriculum) โดยมีการฝกหัดครู พัฒนา ครู และผูบริหารสถานศึกษา ฯลฯ ทั้งนี้ หลักสูตรระดับนําไปใช (Implemented Curriculum) จะตองมีการสรางแบบทดสอบ ทดสอบสมรรถนะผูเรียนวาไดตามที่คาดหวังหรือไม ฯลฯ และไปสูระดับที่คาดหวัง (Intended Curriculum) คือ มีการวิจัยเชิง นโยบาย จัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อปรับปรุงหลักสูตรตอไป ดร.สิริกร ยังไดกลาวถึงปจจัยที่ทําใหผูเรียนประสบความสําเร็จ คือ ปฏิสัมพันธที่ดีระหวางครูกับผูเรียน วิธีการสอนใหเขาใจไมใช ทองจํา และการสรางแรงบันดาลใจถึงความสําเร็จ และปจจัยที่ทําให ครูประสบความสําเร็จในการจัดการเรียนการสอน คือ
1) การเตรียม การสอน
2) การพัฒนาองคความรูเพื่อใชในการสอนหรือ การออกแบบหลักสูตร
3) การทํางานรวมกับลูกศิษยแบบตัวตอตัวรายบุคคล
         4) แลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อนครูเพื่อพัฒนาการสอน และ
         5) จัดกิจกรรมพิเศษตางๆ นอกเหนือจากการเรียนรูในชั้นเรียน

คุณประกอบ รัตนพันธ กลาววา หลักสูตรมีความสําคัญมาก เพราะเปนเข็มทิศไปสูการเดินทางไปสูเปาหมายแหงความสําเร็จ หลักสูตรที่ดีนั้นควรสอดคลองกับธรรมชาติของผูเรียน กลาวคือ
1) ธรรมชาติของผูเรียนไมชอบความจํากัด หากไดเรียนนอกหอง ก็จะมีความสุข
2) ผูเรียนไมชอบการแขงขัน
3) ในการเรียนรู หากสอนมากผูเรียนจะรับนอย ความเชื่อมโยงนอยและลืมเร็ว ดังนั้น ครูที่ดีที่สุด คือ ครูที่ไมสอนเลย แตคอยชี้แนะหาแนวทาง บอกทิศทาง รวมกันวิเคราะหและสังเคราะหกับผูเรียน ซึ่งสิ่งเหลานี้มีความสําคัญตอการนําไปสูการจัดทําหลักสูตรมาก หลักสูตรที่ใชอยูปจจุบันทุกระดับคอนขางดีมาก เพราะมีความยืดหยุน แตการนําหลักสูตรไปใชมีปญหาในเชิงปฏิบัติ

หลักสูตรที่ดีจะตองมีองคประกอบ 3 สวน คือ
1) มีองคประกอบเชิงวิชาการ
2) มีองคประกอบวิชาชีพ คือ วิชาที่ผูเรียนจะนําไป ประกอบอาชีพในอนาคต และ
3) มีองคประกอบวิชาคน คือ การเปนคนที่มีระเบียบวินัย รูจักความรับผิดชอบ มีจริยธรรม การเปนมนุษยที่มีความสมบูรณ และหลักสูตรที่ดีนั้นจะตองนําไปสูการปฏิบัติได คุณประกอบยังกลาวเสริมวา การเขาสูประชาคมอาเซียนนั้น ตองดูบริบทของอาเซียนในการจัดทําหลักสูตร โดยนํา 3 เสาหลัก ของประชาคมอาเซียนมาบรรจุลงในหลักสูตรใหเกิดความพอดี และสิ่งที่ควรตระหนัก คือ ตองจัดหลักสูตรใหเปนพลโลก เพราะ มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และตองสอนใหผูเรียนรูจัก แหลงเรียนรูตางๆ เชื่อมโยงในเรื่องเทคโนโลยีและภาษาที่เปนสากล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น