ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตร
1.
ปัญหาด้านการยอมรับในการเปลี่ยนแปลง
1.1.
สาเหตุ
1.1.1. การขาดความเข้าใจหรือประสบการณ์เดิมที่ผ่านมา
1.1.2. บรรทัดฐานทางสังคม
1.1.3. การยอมรับของกลุ่ม
1.1.4. การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
1.1.5. การให้อำนาจในการกำหนดกิจกรรม
1.2.
การแก้ปัญหา
1.2.1. การพัฒนานวัตกรรม
1.2.1.1.
คือทำให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ส่งผลดีกว่าเดิม
1.2.2. การเปิดรับการเปลี่ยนแปลง
1.2.2.1.
ผู้นำการศึกษาควรเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงร่วมกับครูและเจ้าหน้าที่ทุกคน
1.2.2.2.
วิเคราะห์สถานการณ์
1.2.2.3.
วางแผนการเปลี่ยนแปลง
1.2.2.4.
พัฒนารูปแบบการเปลี่ยนแปลงในการกำหนดหลักสูตรร่วมกัน
1.2.2.5.
ร่วมมือกันแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
2.
ปัญหาจากหลักสูตร
2.1.
สาเหตุ
2.1.1. การกำหนดความชัดเจนของกรอบแนวคิด
2.1.1.1.
ความซับซ้อนและความไม่กระจ่างของรายละเอียด
2.1.1.2.
กรอบแนวคิดและข้อความในการพัฒนาหลักสูตร
2.2.1.
ผู้เรียนควรได้เรียนรู้และแนวคิดที่จะพัฒนาให้รู้จักลำดับความคิดเชิงระบบ
2.2.2.
หลักสูตรต้องเปิดช่องว่างเพื่อเปิดโอกาสให้ครูผู้ใช้หลักสูตรได้ตีความและเติมเต็ม
2.2.3.
พัฒนาหลักสูตรที่กำหนดเนื้อหาสาระที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.4.
กำหนดหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้ที่อยู่แวดล้อมตัวเด็กมากกว่าครู
3.
ปัญหาจากการขาดภาวะผู้นำและการนิเทศติดตาม
3.1.
สาเหตุ
3.1.1. ความต้องการกำลังคนในอนาคต
3.2.
การแก้ปัญหา
3.2.1.
นักศึกษาและนักพัฒนาหลักสูตรควรศึกษาเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน
3.2.2. พัฒนาคนโดยผ่านระบบการจัดการศึกษาทั้งในระบบ
นอกระบบและตามอัธยาศัย
3.2.3. ผู้บริหารเป็นผู้เริ่มต้นและนำพาองค์กร
3.2.3.1.
เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาหลักสูตรอยู่ตลอดเวลา
3.2.3.2.
เป็นผู้นำที่ช่วยให้เกิดความเจริญในการเรียนรู้ของนักเรียน
3.2.3.3.
เป็นผู้อำนวยความสะดวกและสนับสนุนการสอนและการเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน
3.2.3.4.
เป็นผู้ที่ต้องจัดโปรแกรมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
3.2.3.5.
สร้างบรรยากาศเชิงบวกในโรงเรียน
3.2.3.6.
มีพฤติกรรมการบริหารและแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2.3.7.
ให้คำแนะนำด้านหลักสูตรกับครูทุกคนและเป็นตัวกลางเชื่อมโยงด้านนโยบายในโรงเรียน
3.2.3.8.
เป็นแรงบันดาลใจ ให้พลังกับทีม ให้กำลังใจ
3.2.3.9.
เป็นที่ปรึกษา เป็นผู้คอยให้การสนับสนุนและคอยติดตามความก้าวหน้า
3.2.3.10.
เป็นผู้นำที่เข้าใจหลักสูตรสถานศึกษาทั้งหมดในภาพรวม
3.2.3.11.
พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผล
3.2.3.12.
ต้องทำให้เกิดความเชื่อมั่นว่า
3.2.3.12.1.
ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และประสบความสำเร็จได้
3.2.3.12.2.
ความสำเร็จในระดับต้นจะนำไปสู่ความสำเร็จในระดับต่อๆไป
3.2.3.12.3.
โรงเรียนเป็นสถาบันที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ประสบความสำเร็จ
3.2.3.12.4. ผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียนเป็นตัวชี้วัดการจัดการศึกษาและการตัดสินใจของผู้บริหารกับครู
4. ปัญหาที่เกิดจากครูผู้ปฏิบัติ
4.1. ตัวครูมีผลกระทบกับการพัฒนาหลักสูตรและการใช้หลักสูตร
4.1.1. ไม่พัฒนาตนเอง
4.1.2. ไม่เรียนรู้สิ่งใหม่
4.1.3. ไม่มีความคิดสร้างสรรค์
4.1.4. สอนด้วยวิธีการเดิม ๆ
4.1.5. การไม่ได้รับการสนับสนุน
4.1.6. หมดกำลังใจ ขาดแรงบันดาลใจ
4.2.
การมองเป้าหมายของการศึกษาผิดไปจากเดิม
4.2.1. ให้ความสำคัญกับตำแหน่ง รายได้ ความก้าวหน้า
บทบาทหน้าที่และความมีหน้ามีตาทางสังคม การยอมรับจากสังคมภายนอก
4.2.2.
ลืมภารกิจและกลุ่มเป้าหมายหลักของการจัดการศึกษาของโรงเรียน
4.2.3. แสวงหารางวัลจากการประกวดการแข่งขัน
5.
ปัญหาจากผู้เรียน
5.1.
ด้านความรู้พื้นฐานก่อนการเรียน
5.1.1.
พื้นฐานความรู้เดิมของผู้เรียนแต่ละคนไม่เท่ากัน
5.2.
การสอนตามหลักที่ยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง สวนทางกับเนื้อหาสาระที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
6.
ปัญหาจากปัจจัยภายนอก
6.1.
นโยบายการจัดการศึกษาจากส่วนกลาง
6.1.1. การประกันคุณภาพการศึกษา
6.1.2. การประเมินผลการศึกษาระดับชาติ
6.2.
ค่านิยม
6.2.1. การยอมรับคนเก่ง โดยเฉพาะในเชิงวิชาการ
6.2.2.
หลักสูตรสถานศึกษาที่ใช้กันอยู่ในโรงเรียนไม่ได้รับการยอมรับในสถาบันการศึกษา
6.3.
บริบทของสังคมที่อยู่รอบ ๆ ของโรงเรียน ผู้เรียน วัฒนธรรมของชั้นเรียนและโรงเรียน
7.
สรุปได้ว่า ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตร
เกิดจากสาเหตุหลายประการ ทั้งด้านการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม
ด้านตัวหลักสูตรเอง ด้านการขาดภาวะผู้นำ ด้านตัวครูผู้ปฏิบัติ และปัจจัยภายนอกอื่น
ๆ บริบทของสังคมและวัฒนธรรม
ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรจึงต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
ในการดำเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนในทุก
ๆ ด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา
และเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมในยุคปัจจุบัน